|
|
|
|
|
|
|
|
|
“บ้านแพรก” ที่มาของคำว่าบ้านแพรก มีผู้ให้ความหมายมาจากคำว่า “แยก” เดิมที่มีข้าราชการในแผ่นดินกรุงศรีอยุธยาผู้หนึ่งชื่อว่า ตาเมฆ เดิมเป็นเมืองสุพรรณบุรี รับราชการในหน้าที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาช้างหลวง ได้นำโขลงช้างลงอาบน้ำในแม่น้ำลพบุรีที่ไหลผ่าน พื้นที่นี้อยู่เนื่องๆ จนทำให้ทางขึ้นดังกล่าวเป็นลำลึกกว้างขึ้นทุกปี เมื่อถึงฤดูน้ำมาก กระแสน้ำก็จะกัดเซาะแนวดังกล่าว จนทำให้แม่น้ำลพบุรี |
|
|
ไหลแยกตามแนวนี้ เลยขนานนามคลองดังกล่าวว่าคลองตาเมฆ ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำลพบุรีแยกตรงปากคลองตาเมฆ เป็นที่ตั้งของอำเภอ จึงเรียกว่าแยก นามนี้ชาวบ้านเรียกเพี้ยนเป็น “แพรก” และเรียกหมู่บ้านนี้ว่า เป็นบ้านแพรก จนถึงทุกวันนี้
ที่มาของบ้านแพรกอีกความหมายหนึ่ง น่าจะมาจากคำว่า “แพ” “รก” เพราะชาวบ้านแถบนี้แต่โบราณ บ้านเรือนสมัยก่อนอยู่สองฝั่งแม่น้ำลพบุรีบริเวณนี้ นิยมสร้างเรือนแพอยู่สองฝั่ง ทำให้ชุมชนดังกล่าวเริ่มมีการค้าขายที่พ่อค้าแม่ค้ามาแวะเวียนทำการค้ามาก รวมทั้งชาวเรือที่เดินทางในลำน้ำสายนี้ เมื่อผ่านบริเวณดังกล่าวก็จะหยุดพักแรม จนทำให้บริเวณนี้มีเรือนแพ เรือต่างๆ จอดบริเวณนี้จนดูรก จึงเรียกบริเวณนี้ว่า บ้านแพ-รก นานปี ชาวบ้านเรียกเพี้ยนเป็นบ้านแพรกในปัจจุบัน |
|
|
|
|
เทศบาลตำบลบ้านแพรก ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลบ้านแพรก ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ซึ่งเดิมก่อนจะมาเป็นเทศบาลนั้น ได้บริหารงานท้องถิ่นในรูปแบบของสุขาภิบาล รวมเป็นเวลาทั้งสิ้น 44 ปี (สุขาภิบาลจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2499) |
|
|
|
|
|
เทศบาลตำบลบ้านแพรก ตั้งอยู่ในอำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอำเภอตอนเหนือสุดของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ครอบคลุมชุมชนทั้ง 6 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 130 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดลพบุรีประมาณ 20 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประมาณ 53 กิโลเมตร พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1.27 ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 4 ต.บ้านแพรก (เขตท้องที่ อบต.สำพะเนียง) |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 1, 3 ต.สำพะเนียง (เขตท้องที่ อบต.สำพะเนียง) |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
หมูที่ 3 ต.บ้านแพรก (เขตท้องที่ อบต.สำพะเนียง) |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 2 ต.สำพะเนียง (เขตท้องที่ อบต.สำพะเนียง) |
|
|
|
    |
|

 |
|
|
|
|
สภาพภูมิประเทศของตำบลบ้านแพรกเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ภายในตำบลมีแหล่งน้ำธรรมชาติไหลผ่านได้แก่ แม่น้ำลพบุรี โดยไหลผ่านหมู่ที่ 1 ตำบลบ้านแพรก ถึง หมู่ที่ 2 ตำบลสำพะเนียง ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักจากจังหวัดลพบุรี |
|
|
|
|
|
|
ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้น ประกอบด้วย 3 ฤดู คือ |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ - เมษายน |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน กันยายน - มกราคม |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน พฤษภาคม - สิงหาคม |
|
|
|
|
|
ลักษณะการประกอบอาชีพของประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำงาน ทำสวน พืชผลที่ปลูก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ถั่วเขียว เป็นต้น ประชากรบางกลุ่มทำการปศุสัตว์ เช่น โคเนื้อ กระบือ สุกร เป็ด ไก่ เป็นต้น |
|
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 2,075 คน
แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 1,010 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.67 |

 |
หญิง จำนวน 1,065 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.33 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 838 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 1,633.86 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อชุมชน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
ตำบลบ้านแพรก |
|
 |
1 |
|
ชุมชน บ้านแพรกพัฒนา |
307 |
298 |
605 |
332 |
 |
|
2 |
|
ชุมชน บ้านแพรกพัฒนา |
95 |
107 |
202 |
70 |
|
 |
3 |
|
ชุมชนตนรักถิ่น |
96 |
127 |
223 |
72 |
 |
|
4 |
|
ชุมชนเอื้ออาทร |
155 |
151 |
306 |
126 |
|
|
ตำบลสำพะเนียง |
|
 |
1 |
|
ชุมชนศาลเจ้าพ่อจุ้ย |
150 |
175 |
325 |
101 |
 |
|
2 |
|
ชุมชนสร้างสรรค์สำพะเนียง |
207 |
207 |
414 |
137 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
1,010 |
1,065 |
2,075 |
838 |
 |
|
|
ข้อมูล ณ พฤศจิกายน 2559 จากสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบ้านแพรก |
|

 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|